เปิดทุกวัน 8:00 น. - 17.00 น

เวลาทำการ

Follow Us

Author: primal

ตรวจพฤติกรรมก่อนเข้าประเมินภาวะมีบุตรยาก

สำรวจด่วน! พฤติกรรมที่ควรไปตรวจภาวะมีบุตรยาก

ชวนรู้พฤติกรรมเสี่ยงที่ส่งผลต่อการตั้งครรภ์ เพื่อเป็นข้อมูลเบื้อต้นก่อนการตรวจภาวะมีบุตรยาก ไปดูกันว่าพฤติกรรมใดบ้างที่อาจส่งผลต่อการมีบุตรในอนาคต ...

วิธีเลือกศูนย์รักษาผู้มีบุตรยากที่คู่สมรสต้องรู้

คู่มือการเลือกศูนย์รักษาผู้มีบุตรยากด้วยตนเอง

ประสบปัญหามีบุตรยาก ทำอย่างไรก็ไม่ท้อง กำลังมองหาศูนย์รักษาผู้มีบุตรยาก ควรพิจารณาจากปัจจัยไหนบ้าง บทความนี้มีข้อมูลดี ๆ มาฝากกัน...

บำรุงด้วยอาหารบำรุงสเปิร์มก่อนการเก็บสเปิร์ม

เผยสาเหตุสเปิร์มอ่อนแอ พร้อม 11 อาหารบำรุงสเปิร์มให้แข็งแรง

เพิ่มโอกาสการมีบุตรด้วยการบำรุงสเปิร์มให้แข็งแรง ด้วยการปรับพฤติกรรมการกินที่ส่งผลต่อคุณภาพของสเปิร์ม กับอาหารบำรุงสเปิร์มที่คุณผู้ชายสามารถเลือกกินได้...

โปรแกรมแช่แข็งสเปิร์มสำหรับผู้วางแผนมีบุตรในอนาคต

โปรแกรมแช่แข็งสเปิร์มและเซลล์ไข่คืออะไร เก็บตอนไหนดี?

การแช่แข็งอสุจิและการแช่แข็งเซลล์ไข่ เป็นทางเลือกสำหรับคู่สมรสที่อยากมีลูกเมื่อพร้อม หากอยากรู้ว่าควรเริ่มแช่แข็งอสุจิตอนอายุเท่าไร คลิกเลย...

การเพาะเลี้ยงตัวอ่อนในตู้เลี้ยงตัวอ่อน

มีบุตรยากต้องรู้! ความสำคัญของระยะที่ใช้ในตู้เลี้ยงตัวอ่อน

ทำความรู้จักให้รอบด้านกับกระบวนการเพาะเลี้ยงตัวอ่อน พร้อมไปรู้ถึงความสำคัญของระยะในการเพาะเลี้ยงตัวอ่อนที่เหมาะสมกับการตั้งครรภ์มากที่สุด!...

การตรวจ PGD การตรวจพันธุกรรมของตัวอ่อน

การตรวจ PGD: เทคโนโลยีหยุดโรคทางพันธุกรรม

รู้หรือไม่? การส่งต่อโรคทางพันธุกรรมอาจเป็นจุดเริ่มต้นของการป่วยที่ไม่รู้จบ ขอชวนพ่อแม่มือใหม่เตรียมก่อนตั้งครรภ์ด้วยการตรวจ PGD เทคโนโลยีหยุดโรคพันธุกรรม...

ประเมินภาวะมีบุตรยาก ทำไมถึงตั้งครรภ์ไม่สำเร็จ

เช็กสาเหตุตั้งครรภ์ไม่สำเร็จ ด้วยการประเมินภาวะมีบุตรยาก

ประเมินภาวะมีบุตรยาก เกิดได้จากทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง พร้อมแนะนำแนวทางการตรวจภาวะมีบุตรยาก เพิ่มโอกาสประสบความสำเร็จในการตั้งครรภ์...

การตรวจวินิจฉัยตัวอ่อน PGT-A หรือ PGS คืออะไร

ไขข้อสงสัย! การตรวจวินิจฉัยตัวอ่อน PGT-A หรือ PGS คืออะไร?

รู้ก่อนตั้งครรภ์! การตรวจวินิจฉัยตัวอ่อน หรือการตรวจคุณภาพตัวอ่อนอย่าง PGT-A หรือ PGS สำคัญหรือไม่? และเหมาะกับใคร? เราได้รวบรวมคำตอบมาไว้ให้คุณที่นี่!...

วิตามินบำรุงไข่ ตัวช่วยเพื่อการตั้งครรภ์สำหรับคุณแม่มือใหม่

อาหารบำรุงให้ไข่ตก ตัวช่วยเตรียมความพร้อมสู่การมีบุตร

'ภาวะมีบุตรยาก' หนึ่งในปัญหาที่ไม่มีใครอยากเผชิญ ขอชวนคู่รักที่กำลังวางแผนมีบุตรมารู้จักกับภาวะนี้ พร้อมแนะนำอาหารบำรุงให้ไข่ตก ตัวช่วยเพิ่มโอกาสตั้งครรภ์...

การเก็บอสุจิเพื่อเตรียมความพร้อมในอนาคต

ดูแลอย่างไรให้อสุจิแข็งแรง ก่อนการทำ PESA, TESA TESE, MESA

อสุจิสำคัญอย่างไร ทำไมควรบำรุง? อสุจิมีความสำคัญในกระบวนการเตรียมความพร้อม ทั้งทางธรรมชาติและการใช้เทคโนโลยีช่วยในการตั้งครรภ์ เช่น การฉีดน้ำเชื้อเข้าสู่โพรงมดลูก ซึ่งวิธีนี้แพทย์จะทำการนำอสุจิที่ผ่านการเก็บอสุจิของฝ่ายชายไปคัดกรอง เพื่อเลือกอสุจิที่ยังมีชีวิตและเคลื่อนไหวได้ดี ร่วมกับการให้ยากระตุ้นไข่สำหรับฝ่ายหญิง เพื่อฉีดอสุจิเข้าไปในโพรงมดลูก โดยอสุจิจะว่ายจากโพรงมดลูกไปยังท่อนำไข่และผสมกับไข่ด้วยตัวเอง แต่หากอสุจิไม่แข็งแรงโอกาสในการมีลูกก็จะน้อยลง ดังนั้นจึงควรบำรุงอสุจิให้แข็งแรงเพื่อให้พร้อมต่อการเก็บอสุจิในทุกรูปแบบ ทั้งการทำ PESA, TESA TESE, และ MESA    การเก็บอสุจิ ด้วยการทำ PESA, TESA TESE, และ MESA แต่ในบางครั้งต่อให้อสุจิแข็งแรงดี แต่คุณพ่ออาจเกิดภาวะมีบุตรยากในเพศชายจากปัญหาการหลั่งน้ำเชื้อ ซึ่งสามารถแก้ไขปัญหานี้ได้ด้วยการเก็บอสุจิโดยการทำ PESA, TESA TESE, และ MESA ซึ่งเป็นการเก็บอสุจิจากลูกอัณฑะด้วยการผ่าตัด โดยอาจจะมีการเปิดแผลขนาดเล็ก หรือ ใช้กล้องจุลทรรศน์ร่วมด้วยแล้วแต่กรณี โดยทำได้ด้วยวิธีเหล่านี้  การทำ PESA  (Percutaneous Epididymal Sperm Aspiration) คือการใช้เข็มขนาดเล็กแทงผ่านผิวหนังบริเวณอัณฑะเข้าไปในท่อพักน้ำเชื้อ แล้วดูดตัวอสุจิออกมา  การทำ TESE (Testicular Sperm Extraction) คือการตัดเนื้ออัณฑะขนาดเล็กออกมา เพื่อนำเนื้อเยื่ออัณฑะไปหาเชื้ออสุจิโดยการแยกตัวอสุจิที่อยู่ในเนื้ออัณฑะด้วยกล้องจุลทรรศน์ ซึ่งสามารถนำเชื้อที่ได้ไปเก็บแช่แข็งเพื่อใช้ในอนาคตได้ การทำ MESA (Microsurgical Epididymal Sperm Aspiration) คือการเปิดแผลขนาดเล็กที่บริเวณถุงอัณฑะ และใช้กล้องจุลทรรศน์ช่วยในการใช้เข็มขนาดเล็กดูดที่บริเวณท่อนำอสุจิ  เพื่อนำไปหาเชื้ออสุจิ การทำ TESA (Testicular Sperm Aspiration) คือการใช้เข็มดูดที่บริเวณอัณฑะ เพื่อนำเนื้อเยื่อไปหาเชื้ออสุจิต่อไป    อสุจิไม่แข็งแรงเกิดจากอะไร? น้ำหนักตัวที่มากเกินไป ทำให้ปริมาณน้ำ...